วันเสาร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

นาฬิกา

ความผูกพันระหว่างมนุษย์กับนาฬิกานั้นมีมามาแต่เนิ่นนานและเชื่อแน่ว่าจวบจนทุกวันนี้
การทำงานแต่สิ่งหนึ่งที่หากจะเปรียบเทียบมูลค่าแล้ว เรียกได้ว่าแทบจะเทียบกันไม่ได้ก็คือประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนานของนาฬิกาแต่ละเรือนเวลาที่สั่งสมมาจากหลายชั่วอายุคนผ่านกาลเวลามาหลายทศวรรษหรือบ้างก็กว่าศตวรรษ สุดท้ายกลายเป็นเรื่องเล่ากล่าวขานที่ไม่รู้จักจบ ถ่ายทอดไปสู่ผู้สืบทอดรุ่นแล้วรุ่นเล่าเพิ่มความน่าพิสมัยสู่เรือนเวลาที่มีแต่เจ้าของและผู้สืบทอดเท่านั้นที่รู้ดีที่สุดจากตำนานนาฬิกาในสยาม เมื่อก้าวเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยุคของการเริ่มติดต่อทำการค้ากับชาวต่างชาติ ซึ่งก็คือผู้นำเอาเจ้าสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า
สักเท่าไหร่และถือเป็นจุดจบของการดูเวลาแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านซึ่งอาศัยวิธีธรรมชาติ เช่น นาฬิกาแดด เทียบเวลากับเงาสะท้อนจากแสงอาทิตย์ที่ลอดส่องผ่านช่องหินที่นำมาเรียงต่อกันหรือผ่านโครงเหล็กง่ายๆไม่ได้บรรจุกลไกอันใดอย่างนาฬิกาแดดของประเทศจีนไปจนถึงวิธีง่ายๆกับการเงยดูตำแหน่งของดวงอาทิตย์ของคนไทยในที่สุด ถ้าให้
กำหนดเวลาที่แน่นอนของการเข้ามาที่มีบทบาทของนาฬิกาในประเทศไทยจริงๆ คงต้องเริ่ม
กลายเป็นธรรมเนียมอย่างหนึ่งก็ว่าได้องค์ประกอบหลักๆของนาฬิกาตุ้มถ่วงในยุคนั้นจะประกอบไปด้วย
'นาฬิกา'และ'เวลา'ได้กลายเป็นคำ 2 คำอันแสนคุ้นหูและคุ้นชินของทุกคนเฉกเช่นเดียวกับวิวัฒนาการของสิ่งประดิษฐ์อื่นๆ บนโลกใบนี้นาฬิกามีการพัฒนาการจากรุ่นเก่าแก่ดึกดำบรรพ์มาจนถึงเรือนเวลาในหลายหลากรูปแบบบรรจุไว้ด้วยหลากหลายฟังก์ชัน'นาฬิกา' เข้ามาด้วยหน้าตาและชื่อที่ไม่ค่อยคุ้นหูคนไทยในตอนแรกจากกษัตริย์ผู้ทรงเป็นผู้นำแห่งเทคโนโลยีและทรงนำเอาอิทธิพลตะวันตกต่างๆเข้ามาดัดแปลงใช้ในประเทศไทยนั่นคือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5แห่งราชวงศ์จักรีนอกจากบทบาททางการค้ากับเหล่านานาอารยประเทศที่พระองค์ทรงมีแล้วพระองค์ยังได้นำอาสิ่งประดิษฐ์มากมายอันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยและเหล่าขุนนางข้าราชบริพารในการบริหารประเทศเข้ามาด้วย หนึ่งในสิ่งประดิษฐ์เหล่านั่นก็คือ'เครื่องบอกเวลา' หรือนาฬิกานั่นเองในยุคสมัยของพระองค์นั้นได้มีการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นหรือที่เรียกกันว่า'นาฬิกาตุ้มถ่วง' ส่วนใหญ่มีฐานการผลิตอยู่ในประเทศแถบตะวันตก แต่เมื่อพระองค์ทรงสั่งทำและนำเข้ามายังประเทศไทยเป็นพิเศษจึงได้มีการดัดแปลงหน้าปัด โดยเฉพาะการใช้ตัวเลขไทยสำหรับบอกชั่วโมงแทนตัวเลขอารบิคซึ่ง ณ เวลาต่อมาได้กลายเป็นกระแสความนิยมเป็นอย่างมากและในขณะเดียวกันก็เกิดการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นในวงกว้างมากขึ้นโดยบริษัทเอกชนหลายๆ บริษัท ต่อมาล้วนมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำเข้านาฬิกา บริษัทเหล่านี้มักนิยมจารึกชื่อบริษัทตัวเองไว้บนพื้นหน้าปัดของนาฬิกาตุ้มถ่วงจน'กลไกไขลาน' มีตัวตุ้มถ่วงและสายแขวนตุ้มเป็นชิ้นส่วนหลักและที่พิเศษกว่าในปัจจุบันคือยุคนั้นสายแขวนตุ้มจะทำมาจากสายซอ ที่เชื่อกันว่ามีคุณภาพดีและคงทน จนนาฬิกาประเภทนี้ได้รับการขนานนามกันอีกชื่อว่า 'นาฬิกาไหมซอ' ในส่วนของหน้าปัดนาฬิกานิยมทำจากกระเบื้องเผาที่มีความคงทนเมื่อเคลือบและ
เผาทับกับตัวเลขและอักษรจารึกต่างๆแล้ว ตัวอักษรเหล่านี้จะอยู่คงทนไม่มีการลบเลือนถือเป็นความประณีตและความพิถีพิถันของคนสมัยก่อนเป็นอย่างยิ่ง ส่วนอีกความโดดเด่นของนาฬิกาตั้งพื้นก็คือ ตัวไม้ที่นำมาหุ้มส่วนประกอบสำคัญของนาฬิกาและกลายเป็นตู้ไม้ที่งดงามวิจิตรบรรจงเหมาะกับการเป็นของตกแต่งบ้านและสถานที่ต่างๆได้เป็นอย่างดี ส่วนแหล่งผลิตสำคัญของนาฬิกาตั้งพื้นมีกระจัดกระจายอยู่หลายที่แต่ที่นิยมและนำเข้ามาในประเทศไทยมากที่สุดเห็นจะเป็นนาฬิกาจากกรุงปารีสจนคนไทยเรียกติดปากว่า


ต่อมาไม่นานมีการพัฒนานาฬิกาตุ้มถ่วงเป็นนาฬิกาไขลานที่ย่อส่วนอันใหญ่โตเทอะทะของนาฬิกาตั้งพื้นโบราณให้มีขนาดเล็กลงและกลายเป็นนาฬิกาแขวนผนังต่างๆนาฬิกาไขลานในยุคแรก แม้จะดูเป็นของใหม่แต่เรื่องคุณภาพยังสู้นาฬิกาตุ้มถ่วงแบบโบราณไม่ได้ เนื่องจาก
พอลานใกล้หมด ในนาฬิกาไขลานจะยิ่งทำให้นาฬิกาเดินช้าลง อันมีผลต่อความเที่ยงตรงในการบอกเวลาและสิ่งหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคนี้ก็คือการนำเอาวังกะสีมาทำเป็นหน้าปัดแทนการใช้กระเบื้องเคลือบ ส่วนใหญ่มาจากประเทศจีนหรือญี่ปุ่น เพื่อลดต้นทุนการผลิตและขายได้ในราคาถูกลง โดยเน้นปริมาณการขายมากกว่ารูปแบบของงานฝีมือช่างอย่างในอดีตดังนั้น หากพูดถึง
เท่านั้น นาฬิกาตั้งโต๊ะที่คนสมัยก่อนสะสม จึงมีน้อยนักที่จะหาเรือนอื่นที่เหมือนกันได้และกลายเป็นของสะสมล้ำอีกชิ้นหนึ่งกระแสนิยมของการใช้นาฬิกาพกเริ่มเป็นที่แพร่หลายอย่างรวดเร็ว นับจากแรกๆ เป็นนาฬิกาที่พระมหากษัตริย์นิยมสั่งทำขึ้นพิเศษและมอบให้แก่เหล่าขุนนางหรือ
บุคคลสำคัญ ในวาระสำคัญต่างๆนาฬิกาสมัยเก่า จึงมักจะมีคำจารึกบันทึกวาระหรือเหตุการณ์สำคัญต่างๆไว้ ไม่ว่าจะบนพื้นหน้าปัดหรือฝาหลังของตัวเรือนนาฬิกา ก็ตามกลายเป็นของล้ำค่าที่หายากแต่ไม่นานกระแสการใช้นาฬิกาพกก็ได้เข้าสู่สังคมระดับกลาง โดยเฉพาะบรรดาพ่อค้าแม่ขายผู้มีฐานะจากนาฬิกาสำหรับบอกเวลากลายเป็น
เคื่องประดับบารมีอีกชิ้นหนึ่งไป และด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้นาฬิกาพกเริ่มเป็นที่พบเห็นกันหนาตารวมถึงภาพการดำรงชีวิตประจำวันของคนไทยที่ผูกพันธ์กับเครื่องบอกเวลามากขึ้นในเวลานี้เองแหล่งผลิตของนาฬิกาจวบจนถึงปัจจุบันอย่างประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้เริ่มต้นขึ้นอย่างจริงจังกลายเป็นแหล่งผลิตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดสำหรับนาฬิกาพกและนาฬิกา
ข้อมือ ผู้ผลิตหลายรายเริ่มต้นจากการผลิตนาฬิกาพกที่นอกจากย่นย่อขนาดให้สามารถพกพาได้สะดวกแล้วยังได้พัฒนาในส่วนของกลไกลที่ต้องลดขนาดลงหลายสิบเท่า ซ้ำยังมีการผลิตคิดค้นการผลิตฟังก์ชันใหม่ๆเพิ่มเติมเข้าไปด้วยเช่น ฟังก์ชันบอกวัน และวันที่ บอกข้างขึ้น-ข้างแรม ย่ำรุ่งย่ำค่ำ บอกเวลาของไทม์โซนที่
 
ดูเหมือนว่าวิวัฒนาการของนาฬิกาข้อมือจะพัฒนาไปอย่างรวดเร็วที่สุด เมื่อมีการคิดค้นกลไกและรูปทรงใหม่ๆ ให้กับเรือนเวลาข้อมือกันมากขึ้น โดยเฉพาะจุดต้นกำเนิดของนาฬิกากลไกอัตโนมัติ ตามมาด้วยกระแสความนิยมกลไกควอตซ์ ที่ส่วนใหญ่ผลิตมาจากประเทศญี่ปุ่น ก่อนที่จะนิยมมาหวนนาฬิกาไขลานอีกครั้งในปัจจุบัน



'นาฬิกาปารีส 'หรือนาฬิกาจากอังกฤษที่เรียกว่า 'นาฬิกาลอนดอน' และนาฬิกาจากเวียนนา ที่คนไทยเรียกว่า 'นาฬิกาเวียนนา' ระยะหลังนาฬิกาเวียนนากับได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจนกลายเป็นนาฬิกาขายดีและพบเห็นได้ทั่วไปในสมัยนั้นความงดงามแล้วคงสู้หน้าปัดกระเบื้องเคลือบไม่ได้อย่างแน่นอนอีกทั้งยังสึกกร่อนไปตามกาลเวลาได้ง่าย'ประหยัดพื้นที่' กลายเป็นคอนเซ็ปต์ใหม่ของการผลิตนาฬิกา พัฒนามาเป็นนาฬิกาตั้งโต๊ะ ที่แม้จะนำเข้ามาในไทยเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ ก่อนที่นาฬิกาพกจะเข้ามามีอิทธิพลแทนที่แต่ก็กลายเป็นที่นิยมของนักสะสมมากเช่นกัน เนื่องจากนาฬิกาตั้งโต๊ะในสมัยก่อนไม่นิยมผลิตออกมาจำนวนมากๆ แต่จะผลิตเพียงเรือนเดียวในแต่ละลวดลาย2และระบบจับเวลาที่ไม่ซับซ้อนอะไรมาก ด้วยคุณูปการของเจ้าของนาฬิกาพกที่ต้องติดตัวอยู่ตลอดเวลาทำให้มีผู้ริเริ่มเปลี่ยนจากนาฬิกาพกมาเป็นนาฬิการ้อยหูด้วยริบบิ้นหรือสายโซ่เพื่อนให้คล้องสวมกับข้อมือได้กลายเป็นนาฬิกาข้อมือที่นับวันยิ่งได้รับความนิยมเนื่องจากความสะดวกสบายในการพกพาและดูเวลา เพียงแค่พลิกข้อมือก็ทราบเวลาเเล้วนาฬิกาข้อมือยุคแรกๆในเมืองไทยยังเป็นนาฬิกาที่ดูเรียบง่ายคลาสสิค มีตัวเรือนทองเป็นส่วนใหญ่กลไกลภายในยังเป็นกลไกลไขลานล้วนเป็นคุณสมบัติเด่นๆของนาฬิกาพกมาก่อน แต่ได้เปลี่ยแปลงไปคือการเน้นให้มีขนาดตัวเรือนเล็กและบางลง โดยมีแหล่งผลิตและผู้ส่งออกนาฬิกาข้อมืออย่างแพร่หลายไปทั่วโลกสำคัญคือสวิสเซอร์แลนด์ คนไทยเราเองก็รับเอาอายธรรมของการใช้นาฬิกาข้อมือเข้ามาทดแทนนาฬิกาพก เช่นกันหลังจากนั้นเพียงไม่นานนาฬิกาพกก็แทบจะเลือนหายไปจากความคิดของผู้นิยมนาฬิกามาก่อน

เรื่องเล่าแห่งนาฬิกาไทย


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น