วันเสาร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

นาฬิกา



ประวัติความเป็นมาของนาฬิกา



ในสมัยโบราณมนุษย์ยังไม่มีนาฬิกาใช้ การดำเนินชีวิตขึ้นอยู่กับธรรมชาติ ดวงอาทิตย์จึงเป็นนาฬิกาเรือนแรกที่มนุษย์รู้จัก นักประวัติศาสตร์ชื่อ นาฬิกาแดด วิธีธรรมชาติแบบหนึ่ง ทีมีใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยอาศัยการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ที่ปรากฎในแต่ละวันเป็นหลัก สมัยโบราณก่อนที่จะเริ่มมีนาฬิกาจักรกลหรือนาฬิกาอิเล็กทรอนิกส์ ไว้ใช้บอกเวลาเช่นในปัจจุบันมนุษย์ใช้ประโยชน์จากปรากฎการณ์ธรรมชาติ ในการสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆจากธรรมชาติเพื่อการกำหนดเวลาโดยเฉพาะใช้ดวงอาทิตย์เป็นเครื่องชี้บอกเวลาธรรมชาติที่สำคัญที่สุด เช่นเวลาเช้าดวงอาทิตย์ขึ้น เวลาเที่ยงดวงอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะ เวลาเย็นค่ำดวงอาทิตย์ตกลับจากประดิษฐ์คิดค้นนาฬิกาแดด เวลาอย่างง่ายนาฬิกาแดดคิดค้นขึ้นครั้งแรกเมื่อใดไม่ปรากฎ แต่จากหลักฐานพบว่านาฬิกาแดดพัฒนาขึ้น ในสมัยอียิปต์โบราณหรือราว อาจคลาดเคลื่อนไป จากเวลานาฬิกาข้อมือของผู้สังเกต แต่ถ้าได้เข้าใจหลักการของนาฬิกาแดดแล้วนำค่าเวลามาแก้ไข เวลาที่ได้จะมีความถูกต้องพอสมควร ที่เป็นเช่นนี้เพราะนาฬิกาแดดนั้น แสดงเวลาธรรมชาติที่ควรจะเป็น ซึ่งต่างจากเวลาของนาฬิกาข้อมือหรือนาฬิกาทั่วไปที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน บอกวัดเวลาหรือแสดงเวลาที่ต้องการให้เป็น หมายความว่าเวลาที่แสดงจากนาฬิกาแดดนั้นเป็นเวลาที่เราเรียกว่าเวลาดวงอาทิตย์ ณ ตำบลที่นั้นอยู่เป็นประจำไม่ใช่เวลาท้องถิ่นสมมุติ หรือเวลาที่เราต้องการให้เป็น


ต่อมาชาวกรีกโบราณรู้จักพัฒนาหยดออกจากรูข้างใต้ภาชนะในปี ค.ศ.เป็น นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาประเภทนี้เที่ยงตรงมาก และในปี ค.ศ.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ มีการประดิษฐ์ นาฬิกาโดยใช้ชิป เพิ่มเติมในกลไกของนาฬิกา ซึ่งนอกจากจะบอกเวลาแล้วยังสามารถเก็บข้อมูลที่จำเป็น และสามารถใช้เป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ได้ด้วย หลังจากนั้นเทคโนโลยีในด้านการประดิษฐ์นาฬิกาได้ก้าวหน้าเรื่อยมา จนกระทั่งทุกวันนี้เรามี นาฬิกาแดด ลานหน้าพระอุโบสถวัดนิเวศน์ธรรมประวัติ
Herodotus ได้บันทึกไว้ว่า ประมาณ 3,500 สามารถอ่านเวลาได้จากเงาที่ตกทอดลงบนขีดเครื่องหมายปีก่อน มนุษย์รู้จักใช้ นาฬิกาแดด ซึ่งนับว่าเป็นนาฬิกาเรือนแรกของโลก โดย( Sundial ) เป็นเครื่องบอกเวลาและเครื่องมือวัดเวลาขอบฟ้าส่วนเวลากลางวัน ในช่วงเวลาอื่นก็อาศัยสังเกตดูจากการทอดเงา ของวัตถุใดวัตถุหนึ่งที่กำหนดให้เป็นเครื่องบอกเวลาของคนในท้องถิ่นนั้น ซึ่งอาจไม่มีความเที่ยงตรง แต่ก็ยอมรับได้สมัยนั้นมาใช้กำหนดเวลาด้วยหลักการตามที่กล่าวมา มนุษย์ในระยะแรกจึงได้(Sundisl) ให้มีรูปทรงที่เหมาะสมขึ้นมาใช้งานเป็นเครื่องบอก2000 ปี มาแล้ว นาฬิกาแดดนั้นแสดงเวลาที่นาฬิกาน้ำ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งกว่านาฬิกาแดด เรียกว่า แปลว่า ขโมย และคำ "ภาชนะดินเผาที่มีน้ำบรรจุเต็มเวลาถูกเจาะที่ก้นน้ำจะไหลออกจากภาชนะทีละน้อยๆ เหมือนการขโมยน้ำ " ดังนั้นชาวกรีกโบราณจึงได้กำหนดระยะเวลาที่น้ำไหลออกจนหมดภาชนะว่าclepsydra ( คำนี้เป็นคำสนธิที่มีรากศัพท์มาจากคำว่า clep ซึ่งsydra ที่แปลว่า น้ำ ) เพราะนาฬิกานี้ทำงานโดยอาศัยหลักที่ว่า1 clepsydra ในฤดูหนาวน้ำจะแข็งตัวทำให้ไม่สามารถใช้นาฬิกาได้แต่นาฬิกาน้ำนี้ต้องมีการเติมน้ำใหม่ทุกครั้งที่หมดเวลา 1 clepsydra และนาฬิกาน้ำของอียิปต์ เมื่อประมาณ 1,400 ปี ก่อนคริสตกาล อาศัยน้ำ1929 Warren Morrison ได้ประดิษฐ์ นาฬิกาควอตซ์ ขึ้นเฉพาะที่1980 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มนำ( chip ) เป็นส่วนประกอบนาฬิกาคอมพิวเตอร์ใช้กันแล้วสำหรับประเทศไทย คนไทยประดิษฐ์เครื่องบอกเวลาใช้เองเมื่อร้อยปีมาแล้ว คือในราชบริพารผู้ใกล้ชิด มีความว่า จะต้องทำให้คนไทยเชื่อมั่น และต่างชาติเชื่อว่าคนไทยนี้เก่ง " เกล้าฯ ให้เจ้ากรมอุทกศาสตร์ท่านแรกของสยาม ชื่อ ไว้ให้เป็นเครื่องกำหนดหมายบอกเวลา แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานไว้ที่ลานหน้าพระอุโบสถวัดนิเวศน์ธรรมประวัติ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนทุกวันรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงมีวลีที่กำชับรับสั่งกับข้า" สยามจะอยู่รอด รักษาความเป็นไทไม่เป็นขี้ข้าฝรั่งจึงทรงพระกรุณาโปรดCaptain Loftus จัดทำ นาฬิกาแดด




นาฬิกา



ประวัตินาฬิกา Omega


Omegaเบื้องหลังความสำเร็จก็คือ คุณภาพที่เชื่อถือได้ของนาฬิกา Omega ทุกเรือนOmega 
ถือกำเนิดในปี 1848 ที่ La Chaux-de-Fonds โดยนักประดิษฐ์หนุ่มอายุเพียง 23 ปี ชื่อ Louis Brandt.Louis Brandt ได้ประกอบนาฬิกาพกซึ่งใช้ชิ้นส่วนของนักประดิษฐ์ในท้องถิ่นและผลงานของเขาได้ค่อยๆสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จัก.Louis Brandt ได้จากไปในปี 1879 โดยมีบุตรชาย 2 คน คือ LouisPaul และ César Brandt เป็นผู้รับช่วงกิจการ และได้ย้ายบริษัทไปที่ Bienneในดือนมกราคม 1880 เนื่องจากความพร้อมมากกว่าในด้านกำลังคนการติดต่อสื่อสาร และพลังงาน โดยเริ่มแรกย้ายไปโรงงานเล็กๆในเดือนมกราคม และได้ซื้อตึกทั้งหลังในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน.2 ปีต่อมาได้ย้ายไปที่ Gurzelen district of Bienne ซึ่งสำนักงานใหญ่ยังคงตั้งอยู่ที่นี่ถึงปัจจุบัน.ทั้ง Louis-Paul และ César Brandt ได้ตายพร้อมกันในปี 1903 ได้ทิ้งบริษัทผู้ผลิตนาฬิกาสวิสที่ใหญ่ที่สุด240,000 เรือนต่อปี และพนักงาน 800 คน ไว้ในการบริหารของกลุ่มคนหนุ่ม 4 คนซึ่งผู้ที่อาวุโสที่สุดก็คือ Paul-Emile Brandt มีอายุเพียง 23 ปี






ปัจจุบันน้อยคนนักที่จะไม่รู้จักนาฬิกายี่ห้อด้วยยอดกำลังการผลิตนาฬิกา ด้วยความยากลำบากอันเกิดขึ้นเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 1 OMEGA ได้ตัดสินใจรวมกิจการกับ Tissot  ตั้งแต่ 1925 จนถึง 1930 ภายใต้ชื่อ SSIH.ในช่วงทศวรรษ 70 SSIH ได้กลายเป็น ผู้ผลิตนาฬิกาสวิสอันดับหนึ่งและเป็นอันดับ 3 ของโลก.จนกระทั่งช่วงวิกฤตทางการเงินและเศรษฐกิจถดถอยอย่างรุนแรงในระหว่าง 1975ถึง 1980,SSIH ได้ถูกซื้อกิจการโดยแบงก์ในปี 1981. ในปี 1985 ธุรกิจได้ถูกควบกิจการโดยกลุ่มนักธุรกิจเอกชนกลุ่มหนึ่งภายใต้การบริหารของ NicolasHayekและได้เปลี่ยนชื่อเป็น SMH , Societe suisse demicroelectronique et d'horlogerie,กลุ่มใหม่นี้ได้ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว และเติบโตเป็นผู้ผลิตแนวหน้าของโลก.ในปี 1998 ชื่อของ Swatch Group ได้ถูกเรียกขาน และได้รวมเอา Blancpain และ Breguet เข้ามาร่วมด้วย และแน่นอนชื่อของ OMEGA ก็ยังคงเป็นหนึ่งในแบรนด์ที่สร้างชื่อเสียงที่สุดและเป็นแบรนด์สำคัญของกลุ่ม


First watch on the moon
  Omega ก็คือ Omega Speedmaster โดยรุ่นแรกที่ผลิตออกมาคือรุ่น CK2915 ในปี 1957 และได้ผลิต speedmaster ออกมาเรื่อยๆจนถึงวันหนึ่งในช่วงต้นทศวรรษ 60 ในเวลานั้น NASA กำลังดำเนินโครงการอวกาศMERCURY และก็กำลังจะเริ่มต้นโครงการ GEMINI หรือการส่งคนหนึ่งคู่ ออกไปโคจรรอบโลกซึ่งโครงการ Mercury ที่ NASA กำลังดำเนินอยู่นั้นเป็นการปฏิบัติภารกิจภายในยาน โดยนักบินถูกส่งไปโคจรรอบโลก ส่วน ภารกิจ Gemini นั้น จะมีการส่งNASA จึงเกิดความต้องการที่จะจัดหานาฬิกาเพื่อใช้ในโครงการอวกาศต่างๆต่อไป โดยนาฬิกาที่ว่าจะต้องมีระบบจับเวลาเพื่อถูกใช้สำรองในกรณีที่ระบบเวลาหลักล้มเหลว นาฬิกาที่ว่าจะต้องทนต่อทุกสภาวะ ทั้งความกดดันอากาศ สภาพสุญญากาศ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงจากติดลบไปเป็นร้อยองศาเพียงเคลื่อนข้ามจากใต้เงาไปสู่แสงแดด ดังนั้นในปี 1962 NASA จึงได้ส่งพนักงานจัดซื้อของตนออกไปหาซื้อนาฬิกาจับเวลามาอย่างละเรือนสองเรือนเพื่อใช้ในการทดสอบแบบไม่เป็นทางการ การจัดหาก็ทำอย่างง่ายๆ คือให้เจ้าหน้าที่ของตนไปที่ร้านขายนาฬิกาที่ใหญ่ที่สุดในเมืองที่สำนักงานใหญ่ของตนตั้งอยู่ก็คือ Houstan รัฐTexas ห้างดังกล่าวชื่อ Corrigan ซึ่งในปัจจุบันร้านนี้ก็ยังคงเป็นตัวแทนจำหน่ายของ Omega อยู่หลังจากซื้อมาแล้ว Nasa ก็ได้วิเคราะห์นาฬิกาต่างๆและนำมาลองใช้ในโครงการMercury จนได้ไอเดียคร่าวๆแล้ว ในปี 1964 Nasa จึงกำหนดข้อต้องการในการจัดซื้อนาฬิกาต่างๆมาทดสอบเพื่อทำการใช้ในโครงการอวกาศ Gemini และ Apollo ใบขอสั่งซื้อได้ถูกส่งไปยังบริษัทต่างๆเช่น Elgin, Benrus, Hamilton, Mido, Luchin ^ -5 มม ปรอทNasa อาจได้ลองใช้นาฬิกาหลายๆยี่ห้อแล้วติดใจใน Omega เพราะเสป็คที่ออกมาเข้ากับOmega ทุกอย่าง ในขณะนั้นยังไม่มีนาฬิกาจับเวลาแบบ auto หรือใช้ไฟฟ้าออกมา และบางบริษัทก็ได้ปฎิเสธที่จะส่งนาฬิกาให้เนื่องจากว่าตนไม่ได้ผลิตนาฬิกาที่Nasa จัดขึ้นมาก็แบ่งเป็นชุดๆ หลายๆขั้นตอนพอสิ้นสุดการทดสอบแต่ละครั้ง นาฬิกาแต่ละเรือนก็จะถูกเช็คอย่างละเอียด ถ้าเดินไม่ตรงมากๆ ไขลานไม่ได้ จับเวลาไม่ได้ น้ำเข้า หรือชิ้นส่วนพัง ก็จะถูกคัดออกจากการทดสอบการทดสอบหฤโหด ได้แบ่งเป็นช่วงๆดังนี้ ระหว่างการทดสอบในแต่ละช่วง นาฬิกาก็จะถูกตรวจว่ายังทำงานปกติหรือไม่๐C 48 ชั่วโมง แล้วต่อด้วย 93 ๐C 30 นาที ปรับความดันไว้ที่ 0.35 ATM ความชื้น 15%๐C 4 ชั่วโมง^ -6 ATM เข้าห้องอบลดอุณหภูมิจาก 71 ๐C ลงมาที่ -18 ๐Cในเวลา 45 นาที และเพิ่มกลับไปที่ 71 ๐C ในอีก 45 นาที ทำแบบนี้วนไปวนมา 15 รอบระหว่าง 20 - 71C ไอน้ำไม่เป็น กรดหรือด่างOxygen 100% ที่แรงดัน 0.55 ATM เป็นเวลา 48 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ71 C ถ้ามีรอยใหม้ เกิดแก๊สพิษลอยออกมา หรือยางเสื่อมสภาพถือว่าสอบไม่ผ่านG (ความเร่ง) ครั้งละ 11 Millisecond หกทิศทาง (คล้ายๆกับเหวี่ยงนาฬิกาแรงๆมากๆ เร็วมากๆ)G ไป 7.25G ในเวลา 333 วินาที (ลักษณะคล้ายๆยิงจรวดขึ้นฟ้า)^ -6 ATM อีก 90 นาทีที่ 71๐C และอีก 30 นาทีที่93๐C
9. แรงดันอากาศสูง 1.6
10. เข้าเครื่องเขย่า 30 นาที ที่ความถี่เปลี่ยนไปมาระหว่าง 5 - 2000 รอบต่อวินาที และที่5 รอบต่อวินาทีต่ออีก 15 วินาที แรงเขย่าอย่างต่ำๆ 8.8
11. โดนยิงคลื่นเสียงที่ดัง 130
ATM เป็นเวลา 1 ชั่วโมงG (เหมือนเขย่าแรงๆช้ามั่ง เร็วมั่ง)dB เป็นเวลา 30 นาที โดยใช้เสียงทุกช่วงความถี่ที่คนได้ยินหลังการทดสอบRolex หยุดเดินสองครั้ง 1 และเข็มงอพันเข้าหากันในตู้อบความร้อนเลยถูกคัดออกจากการทดสอบ ส่วน Longines นั้นกระจกหลุดร่วงออกจากตัวเรือนเปลี่ยนตัวใหม่เข้า test ต่อก็ยังร่วงอีกเลยสอบตกไปตามๆกัน ที่เหลือรอดมาได้คือ
Omega Speedmaster
ต่อมาปี 1965 Speedmaster ดังนั้นในปี 1966 ซึ่งหลังจากผ่านการทดสอบแล้ว สูญเสียความเที่ยงตรงในการทดสอบความเร่งและทดสอบสูญญากาศ พรายน้ำที่หน้าปัดมีรอยไหม้แต่อย่างอื่นปกติซึ่งเป็นที่พอยอมรับกันได้ Omega จึงผ่านการทดสอบและได้รับการบรรจุให้เป็น อุปกรณ์หลักในโครงการอวกาศ Gemini และ Apollo โดยเริ่มจากโครงการ Gemini 3Mission Gemini 4 Edward White ก็ได้ใช้ Omegaในการจับเวลาการลอยไปลอยมาในอวกาศ (Space walk) ของตนOmega จึงได้เพิ่มคำว่า PROFESSIONAL ต่อท้ายคำว่าSpeedmaster บนหน้าปัดเพื่อเฉลิมฉลองการยอมรับจาก Nasa ให้ใช้ในโครงการอวกาศของตนต่อมา มีแรงกดดันจากทำเนียบขาว เนื่องจากทางผู้ผลิตนาฬิกาอเมริกันไม่พอใจที่มีการใช้นาฬิกาสวิสในโครงการอวกาศของอเมริกัน และโครงการส่งคนไปบนดวงจันทร์ ทาง Nasa จึงได้มีการตอบกลับไปพร้อมผลทดสอบว่าได้ทำการทดสอบแล้วพบว่า นาฬิกาที่ผลิตในประเทศไม่ผ่านการทดสอบนี้ใน Aldlin




ปีต่อมา Mission Apollo 13 Omega Speedmaster Professional ก็Mission Apollo 13 ซึ่ง Nasa ได้ทำการส่งคนไปลงดวงจันทร์อีก ระหว่างทางถัง oxygen ของยานได้เกิดระเบิดขึ้นมาทำให้สูญเสียแหล่งกำเนิดไฟฟ้าในยานทั้งหมดจันทร์ผลักให้ยานพุ่งกลับสู่โลก การทำงานทำได้โดยติดขัดเพราะมีไฟฟ้าเพียงแค่พอหล่อเลี้ยงอุปกรณ์สื่อสารเท่านั้น เครื่องมือจับเวลาไฟฟ้าประจำยานล้มเหลวทั้งหมด ดังนั้นนักบินจึงSpeedmaster จับเวลาการจุดระเบิดของเครื่องสร้างแรงขับดัน เพื่อบังคับทิศทางยานให้พุ่งกลับสู่โลก ใครเป็นเจ้าของ Speedmaster และได้ดูหนัง เรื่องApollo 13 จะภูมิใจกับนาฬิกาของตนมาก เพราะมีฉากหนึ่งที่ผู้การ Jim Lowell ได้ใช้นาฬิกา Speedmaster จับเวลาอย่างชัดเจนปี 1975 มีโครงการอวกาศร่วมระหว่างสหรัฐกับสหภาพโซเวียตในการนำยาน Aplloเข้าเชื่อมต่อกับสถานีอวกาศ Soyuz ของโซเวียต มีการจับมือกลางอวกาศ และเซ็นเอกสารOmega Speedmaster นั่นเอง แสดงว่า Omega รุ่นนี้เป็นที่ยอมรับกันทั้งสองค่าย ส่วนนักบินรัสเซียอีกคนที่ชื่อ Alexandr Polishchuk ก็เลือกใช้Omega เช่นกันแต่เป็นรุ่น Flight Master ซึ่งเป็นนาฬิกาลูกพี่ลูกน้องของSpeedmaster Apollo และโครงการ Space Shuttle ได้มีการจัดหานาฬิกาที่จะนำมาใช้ โดยมีการทดสอบแบบเดิม ครั้งนี้มีแรงผลักดันจากรัฐบาลให้นาฬิกาในประเทศอย่าง Bulova ได้เข้าทดสอบด้วย แต่ในที่สุดผู้ที่ชนะในการทดสอบครั้งนี้ก็ยังเป็น Omega Speedmaster Professional เช่นเดิม แต่ในครั้งนี้สิ่งที่แตกต่างOmega ได้ใช้เครื่องรุ่นใหม่ Caliber 861 (Based on lemania 1863)เนื่องจากผู้ผลิตเดิมเลิกทำการผลิตเครื่องรุ่น 3210 แล้ว ช่วงหลังๆภารกิจ SpaceShuttle ได้มีการปรับบรรยากาศภายในยานให้คนอยู่ได้โดยไม่ต้องสวมชุดอวกาศ และมีการค้นคิดนาฬิกาแบบ Quartz และ computer แบบติดข้อมือซึ่งมีความเสถียรมากขึ้นๆ ทำให้ให้บทบาทของนาฬิกาแบบ Mechanic ลดน้อยถอยลงไป OmegaSpeedmaster จึงค่อยๆกลายเป็นอุปกรณ์เพื่อ Back up แต่ชื่อเสียงและความยิ่งยงในOmega Speedmasterในชีวิตประจำวันของตน เพื่อเป็นที่ระลึกถึงภารกิจนอกโลกที่ตนเคยมีส่วนร่วมนั่นเองต่อมาช่วงต่อระหว่างโครงการ ออกไปคือ อดีตก็ยังคงไม่ลืมเลือน มีนักบินอวกาศหลายคนที่ยังเลือกใช้ได้ปฏิบัติภารกิจสำคัญอีกครั้งใน  นักบินต้องเอาชีวิตรอดโดยการนำยานเข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์และใช้แรงเหวี่ยงของดวงต้องใช้นาฬิกาเป็นที่ระลึก นักบินชาวอเมริกันและรัสเซียต่างก็ประหลาดใจเมื่อพบว่าทั้งสองฝ่ายใช้นาฬิกาเหมือนๆกันคือ และแล้วในปี 1969 มนุษย์กลุ่มแรกก็ถูกส่งไปยังดวงจันทร์พร้อมด้วย OmegaSpeedmaster ภายใต้ภารกิจที่ชื่อ Apollo 11 ภารกิจนี้มีนักบินด้วยกันสามคนคือBuzz Aldlin, Niel ArmStrong และ Michael Collins โดยสองคนแรกลงไปLunar Module เพื่อร่อนลงบนดวงจันทร์ ส่วน Michael Collins ต้องอยู่บนยานแม่ซึ่งโคจรอยู่เหนือดวงจันทร์ ก่อนการแยกยาน นาฬิกาหลักบนยานแม่เกิดขัดข้องNiel Armstrong จึงต้องทิ้งนาฬิกาของตนไว้บนยานแม่เพื่อใช้สำรองแทนเครื่องที่พังดังนั้นคนที่ใส่นาฬิกาลงไปบนดวงจันทร์คนแรกไม่ใช่ Niel Armstrong แต่เป็น Buzzนาฬิกาเรือนถูกใช้จับเวลาที่นักบินทั้งสองปฎิบัติการอยู่ภายนอกยานบนดวงจันทร์นี่เป็นที่มาของตำนาน The First Watch worn on the moon น่าเสียดายอย่างยิ่งตรงที่ว่าเมื่อ Buzz Aldlin กลับมาถึงโลกแล้ว ทรัพย์สินเครื่องใช้ต่างๆต่างก็ถูกขโมยหายไปรวมทั้งนาฬิกา Omega Speedmaster เรือนแรกที่มนุษย์โลกสวมบนดวงจันทร์ด้วย




รุ่นที่สร้างชื่อเสียงให้กับคนออกไปนอกยานเพื่อลอยไปลอยมา และทำการทดลองต่างๆ ดังนั้น  Picard, Omega, Bulova, Rolex, Lonngines, Gruen



โดยมีข้อกำหนดดังต่อไปนี้
1. ให้ส่งมอบไม่เกินวันที่ 21/10/1964
2. ต้องเดินผิดพลาดไม่เกิน 5 วินาทีต่อ 24 ชั้วโมง จะยิ่งดีถ้าเดินผิดพลาดไม่เกิน 2 วินาทีต่อวัน
3. ต้องกันแรงดันได้ตั้งแต่ แรงดันน้ำที่ 50 ฟุต จนถึงสุญญากาศที่ 10
4. หน้าปัดต้องอ่านง่ายในทุกสภาวะ โดยเฉพาะภายใต้แหล่งกำเนิดแสงที่เป็นสีแดงหรือขาวอย่างต่ำๆต้องมองเห็นภายใต้แสงเทียนที่ระยะ 5 ฟุต ในสภาวะแสงจ้าหน้าปัดไม่ควรไม่มีแสงสะท้อน ถ้าจะให้ยิ่งดีหน้าปัดควรมีสีดำ
5. หน้าปัดต้องแสดง วินาที 60 วินาที วงนาที 30 นาที และวงชั่วโมง 12 ชั่วโมงหรือมากกว่านั้น
6. นาฬิกาต้องกันน้ำ กันกระแทก กันแม่เหล็ก กระจกหน้าปัดต้องต้องไม่คมและไม่กระจายเป็นเศษๆเวลาแตก
7. นาฬิกาที่จัดหาจะเป็นไขลาน ออโต หรือใช้ระบบไฟฟ้าก็ได้ แต่ต้องเอามือหมุนขึ้นลานได้
8. นาฬิกานี้บริษัทที่จำหน่ายต้องมีรับประกันเป็นเวลาอย่างต่ำ 1 ปี
จากเสป็คจะเห็นได้ว่า
ตรงกับข้อกำหนดดังกล่าว การทดสอบที่
1. เข้าห้องอบที่อุณหภูมิ 71
2. อุณหภูมิ -18
3. ที่สุญญากาศ 10
4. เข้าตู้อบความชื้นสูง 95% เป็นเวลา 240 ชั่วโมง อุณหภูมิในห้องทดสอบเปลี่ยนไปมา
5. เข้าห้องอบ
6. โดนแรงเหวี่ยง 40
7. ความเร่งจาก 1
8. เข้าห้องสุญญากาศแรงดัน 10

นาฬิกา


  
สารพัสวัสดุกว่าจะมาเป็นนาฬิกา



จากอดีตกาลจวบจนถึงปัจจุบัน นาฬิกามีบทบาทสำคัญที่สะท้อนความเที่ยงตรงของเวลาให้กับมนุษย์เป็นอย่างมาก และความเที่ยงตรงแม่นยำของเวลาเกิดขึ้นจากการทำงานของชิ้นส่วนกลไก ฟันเฟืองและจานจักรต่างๆภายในที่มารวมตัวกันเป็นประดิษฐกรรมบอกเวลาชั้นสูง ดังที่เราได้เห็นกันอยู่ทั่วไปในปัจจุบันนั้น นอกจะเป็นตัวแทนในฐานะเครื่องบอกเวลาแล้วเรือนบอกเวลาในจินตนาการของหลายท่านที่ชื่นชอบและสะสมอยู่นั้นยังบ่งบอกถึงรสนิยมของผู้ที่สวมใส่ได้เป็นอย่างดีด้วย แต่เคยสังเกตกันไหมว่า ทำไมนาฬิกาแต่ละเรือนที่ซื้อหรือสะสมอยู่ถึงได้มีราคาที่แตกต่างกัน ทั้งที่ดูจากรูปลักษณ์ดีไซน์ภายนอกแล้วก็มีหน้าตาที่ละม้ายคล้าคลึงกัน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะวัสดุที่นำมาใช้ในการประดิษฐ์นาฬิกาแต่ละเรือนนั้นมีหลากหลายชนิด และแต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป ส่วนนาฬิกาเรือนนั้นประกอบด้วยวัสดุใดบ้าง และวัสดุเหล่านั้นมีความแตกต่างกันอย่างไร ลองไปทำความเข้าใจกันดูเกี่ยวกับวัสดุที่นำมาใช้ประดิษฐ์นาฬิกา
 
   ทองคำ
ก่อนอื่นมาดูคำศัพท์เฉพาะที่ใข้เรียกในอุตสาหกรรมการประดิษฐ์นาฬิกา เมื่อเราได้ยินใครสักคนกล่าวถึง "นาฬิกาเรือนทอง" หรือ ไม่ใช่แค่มีสีทองเหลืองหรือเคลือบด้วยชั้นของทองเท่านั้นเป็นที่ทราบกันดีว่าทองคำโดยส่วนใหญ่ที่เห็นๆกันอยู่ทั่วไปนั่นจะมีสีเหลืองทองแต่ในบางครั้งก็พบเห็นทองสีขาวหรือที่เรียกกันว่าทองคำขาว "นาฬิกาเรือนเหล็ก"นั่นก็แสดงให้เห็นว่าเขากำลังพูดถึงวัสดุที่นำมาใช้ประกอบขึ้นเป็นตัวเรือนนาฬิกาและการที่เราจะเรียกนาฬิกาเรือนไหนว่าเป็นนาฬิกาเรือนทองนั้นขึ้นอยู่กับว่าตัวเรือนของนาฬิกานั้นๆทำมาจากทองเนื้อแข็ง(White Gold) หรือทองคำสีชมพู(บางครั้งก็อาจจะเคยได้ยินบางแบรนด์เรียกว่า Rose Gold หรือ Red Gold แตกต่างกันออกไป ) ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับโลหะที่นำมาผสมผสานเข้ากับทองคำเพื่อทำให้เกิดเป็นอัลลอย์ (Alloy ) หรือโลหะผสมมีสัดส่วนและปริมาณที่แตกต่างกันไปจึงทำให้ทองแต่ละชนิดที่ได้นั้นมีสีเข้มแตกต่างกันส่วนคำว่า 'กะรัต' หลายคนคงคุ้นหูกันเป็นอย่างดี นั่นคือก็คือเกณฑ์สำหรับวัดค่าความบริสุทธิ์ของทองคำที่มีอยู่ในเนื้อโลหะนั้นๆแต่นาฬิกาเรือนทองโดยส่วนมากแล้วจะทำมาจากทองคำ 18 กะรัตหรือ 18k หมายถึง โลหะนั้นประกอบด้วยเนื้อทองคำบริสุทธิ์ถึง 75%ซึ่งเป็นที่นิยมกันโดยทั่วไปเพราะว่าเป็นสัดส่วนที่เหมาะสมลงตัวมากที่สุดส่วนนาฬิกาทองคำบางเรือนที่ทำมาจากทองคำ สาเหตุที่ว่าทองคำบริสุทธิ์นี้มีความอ่อนตัวเกินกว่าจะทำเป็นตัวเรือนหรือสายได้และตามหลักประมวลกฎหมายแล้วนาฬิกาเรือนทองจะต้องมีการตีตราอยู่บนด้านหลังของตัวเรือนพร้อมบอกค่ากะรัตของทองคำที่ใช้ แต่ถ้าสายของนาฬิกาเป็นแบบที่ไม่สามารถถอดแยกออกจากตัวเรือนได้ อย่างเช่น นาฬิกาทรงกำไลข้อมือ ค่ากะรัตก็อาจจะประทับไว้บนกำไลข้อมือนั้นๆได้เช่นกัน
 
   ทองชุบ

นาฬิกาทองชุบ
(Gold - Plated Watch) มักจะพบเห็นได้โดยทั่วไปมากกว่านาฬิกาเรือนทอง ตัวเรือนนาฬิกาประเภทนี้จะทำมาจากโลหะที่มีค่าน้อยโดยปกติที่เรามักจะพบเห็นก็คือทองเหลืองหรือเหล็กกล้า ซึ่งจะถูกเคลือบด้วยแผ่นทองคำที่มีความหนาถึง 20ไมครอน แต่โดยส่วนใหญ่ที่เราเคยเห็นกันนั้นจะเคลือบด้วยทองคำหนาประมาณ 10 ไมครอนหรือน้อยกว่านี้แตกต่างกันไป (1 ไมครอนจะมีค่าเท่ากับ 1/1,000 มิลลิเมตร กระบวนการนำโลหะทองคำเหล่านี้มาประยุกต์เรียกว่า การชุบโลหะทองคำด้วยไฟฟ้า(Electroplating) และส่วนใหญ่ทองคำที่นำมาใช้สำหรับชุบนั้นจะนิยมใช้ทองคำที่มีค่าสูงกว่า 18 กะรัต เพราะว่าจะให้เนื้อทองสีเหลืองที่มีความเข้มข้นมากกว่าส่วนนาฬิกาเรือนสีทอง(Gold - Tone Watch )ที่เราพบเห็นกันอยู่ทั่วไปซึ่งมีราคาไม่สูงนักจะมีเนื้อของทองคำเคลือบอยู่บางกว่านาฬิกาทองชุบ

 
   เหล็กกล้า


เมื่อไม่นานมานี้เอง เหล็กกล้าหลักพันเลยทีเดียว อย่างไรก็ดี หลายท่านอาจประหลาดใจว่า เหตุใดนาฬิกาที่ทำจากวัสดุราคาถูกเช่นนี้ ถึงได้มีราคาแพงลิบลิ่ว นั่นก็เป็นเพราะว่าวัสดุที่นำมาใช้ในอุตสาหกรรมการ(Steet) ได้กลายเป็นวัสดุที่มีบทบาทสำคัญที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในอุตสาหกรรมการประดิษฐ์นาฬิกา เนื่องจากความกระแสนิยมตามแฟชั่นที่เปลี่ยนไปทำให้รสนิยมของคนส่วนใหญ่หันมาชื่นชอบโลหะที่มีสีขาวซึ่งจะเห็นได้จากปริมาณยอดขายของทองคำขาวที่มีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดและสำหรับเหล็กกล้าที่นิยมนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการประดิษฐ์นาฬิกาก็คือสเตนเลสสตีล นั่นหมายความว่าเหล็กกล้านั้นประกอบด้วยธาตุโครเมียม ก่อเป็นรูปร่างขึ้นที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นเกระป้องกันพื้นผิวของโลหะอย่างแท้จริงและยังป้องกันการกัดเซาะที่อาจทำให้เกิดสนิมได้อีกด้วยสำหรับนาฬิกาเรือนเหล็กกล้านั้นจะมีราคาเริ่มตั้งแต่ต่ำกว่า 50 ดอลลาร์สหรัฐ์ฯไปจนถึงผลิตนาฬิกานั้นเป็นเพียงปัจจัยเล็กๆอย่างหนึ่งที่ใช้การกำหนดหรือตั้งราคาของนาฬิกาเรือนนั้นๆสำหรับปัจจัยที่เป็นต้นทุนซึ่งมีบทบาทสำคัญมากกว่าก็คือต้นทุนแรงงานที่ช่างทำนาฬิกาได้อุทิศเวลาของตนให้กับการประดิษฐ์และจำนวนที่ใช้จ่ายไปกับการส่งเสริมการขายนาฬิกาแบรนด์นั้นจนเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปยกเว้นนาฬิกาบางประเภทที่ประดับด้วยเพชรหรืออัญมณีล้ำค่าต่างๆอย่างละลานตาสำหรับนาฬิกาประเภทนี้จะเรียกกันว่า เครื่องประดับบอกเวลา
 
   ไทเทเนียม


โลหะชนิดหนึ่งที่มีสีขาวและยังเป็นโลหะที่มีความแข็งแรงทนทานมากอีกด้วยทำให้ในระยะหลังนี้ไทเทเนียมกลายเป็นโลหะที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงในอุตสาหกรรมการประดิษฐ์นาฬิกาเช่นกันดังจะเห็นได้จากกระแสความนิยมในตัวโลหะสีขาวและยอดขายของนาฬิกาสปอร์ตที่มีการเจริญเติบโตสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเพราะว่าโลหะชนิดนี้เป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับการผลิตนาฬิกาสปอร์ตเป็นอย่างยิ่ง วัสดุไทเทเนียมก็ยังมีความแข็งแรงทนทานมากกว่าสเตนเลสสตีลทั้งยังสามารถป้องกันการเกิดสนิมซึ่งอาจจะเกิดจากการกัดกร่อนของน้ำเค็ม กระนั้นไทเทเนียมนั้นสามารถเกิดรอยขีดข่วนได้ง่ายจึงเป็นเหตุผลที่ทำให้ผู้ผลิตหลายรายต้องนำนาฬิกาไทเทเนียมของเขาไปเคลือบด้วยโลหะที่ใช้สำหรับป้องกันรอยขีดข่วนโดยเฉพาะอีกชั้นหนึ่ง


วัสดุชนิดอื่นๆ
 
นาฬิกาบางชนิดทำมาจากวัสดุอะลูมิเนียมซึ่งก็เป็นโลหะอีกชนิดหนึ่งที่มีสีขาว น้ำหนักเบาและป้องกันการเกิดสนิมได้ด้วย ว้สดุที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันมากนักสำหรับการนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการประดิษฐ์นาฬิกานั้น ยังมีอีกหลายชนิด อาทิ วัสดุที่มาจากการผสมผสานของ นาฬิกาด้วยเช่นกันดังจะเห็นได้จากแบรนด์อย่าง ราโด อยู่ด้วยกัน 3 ชนิดนั่นก็คือ กระจกมิเนอรัล ( MINERAL GLASS )ซึ่งเป็นกระจกที่มีพื่นฐานการผลิตเช่นเดียวกันกับกระจกที่ใช้ทำหน้าต่างดังที่เราเห็นกันอยู่ทั่วไป วัสดุชนิดที่สองก็คือ อะครีลิก (Acylic) ซึ่งเป็นพลาสติกใสชนิดหนึ่งที่มีความแข็งแรงทนทานเป็นอย่างสูงและ(Synthetic Sapphire) เป็นวัสดุชนิดพิเศษที่มีความเเข็งแรงทนทานมาก และถูกนำมาใช้เพื่อเป็นคริสตัลชนิดต้านทานรอยขีดข่วนได้ดีแซพไฟร์สังเคราะห์ก็คือวัสดุชนิดเดียวกันกับแซพไฟร์ที่นำไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องประดับต่างๆเว้นเสียแต่ว่าจะเป็นคริสตัลที่ทำขึ้นโดยฝีมือมนุษย์และเมื่อถูกผลิตขึ้นเพื่อใช้ทำนาฬิกาคริสตัลแบบไร้สีเช่นเดียวกับแซพไฟร์ตามธรรมชาติ ซึ่งมีอัตราความแข็งแรงทนทานอยู่ที่ระดับ 9 เลยทีเดียวสำหรับเพชรนั้นถือว่ามีอัตราความแข็งอยู่ที่ระดับ 10 ซึ่งเป็นวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติชนิดเดียวเท่านั้นที่มีความแข็งแรงที่สุด ทั้งนี้แซพไฟร์สังเคราะห์ยังได้มีการนำมาใช้ประกอบเป็นฝาหลังของตัวเรือนเพื่อเผยให้เห็นการทำงานของกลไกที่ตกแต่งขัดเกลาได้อย่างประณีตงดงามอีกด้วย

ผลึกแก้วใสหรือคริสตัลแซพไฟร์
ยังเป็นวัสดุที่ป้องกันการแตกละเอียดได้ดีอีกด้วยแต่คริสตัลชนิดนี้สามารถเกิดรอยขีดข่วนได้ง่าย จึงไม่นิยมนำมาใช้ในการทำกระจกหน้าปัดนาฬิกาสำหรับวัสดุชนิดสุดท้ายที่เราจะกล่าวถึงนั่นก็คือ แซพไฟร์สังเคราะห์
 
สายนาฬิกา 



สายนาฬิกาทำมาจากวัสดุ หลายๆชนิดที่มีความแตกต่างกัน อาทิ ทองคำ สเตนเลสสตีล ชุบทอง ทองเหลืองชุบทอง เหล็กกล้า ไทเทเนียม อะลูมิเนียมรวมถึงหนังสัตวแ์ ละหนังลูกวัว
(Calfskin) ก็เป็นหนังชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในการนำมาทำสายนาฬิกา ส่วนหนังอีกชนิดหนึ่งหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ก็คือ หนังแพะอ่อน (Kidskin) หรือที่รู้จักกันในชื่อ 'เชฟโร' (Chevreau)ซึ่งทำมาจากหนังแพะนั่นเอง นอกจากนี้ยังมีหนังลูกหมูและหนังแกะที่มีการนำมาใช้ประกอบเป็นสายนาฬิกาด้วยเช่นกัน สำหรับกลุ่มประเภทของหนังที่นำมาทำสายของนาฬิกาที่เราเรียกกันว่า หนังเทศหรือหนังที่มีลวดลายประหลาด (Exotics) โดยทั่วไปจะมีราคาสูงกว่าหนังวัวหรือหนังหมูในที่นี้จะขอยกตัวอย่างให้เห็นกันอย่างชัดเจนได้แก่ หนังตะกวด(Lizard) หนังจระเข้ท้องเหลือง (Crocodile) หนังจระเข้ตีนเป็ด(Alligator) หนังนกกระจอกเทศ (Ostrich) และหนังปลาฉลาม (Shark) เป็นต้นอย่างไรก็ดีบางครั้งได้มีการนำหนังลูกวัวมาตอกลายนูนเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่ดูคล้ายกับหนังเทศ ในกรณีเช่นนี้จะเรียกสายหนังประเภทนี้ว่า สายหนังลายนกกระจอกเทศ(Ostrich-Look) หรือสายหนังลายตะกวด (Lizard-Look) เป็นต้น ส่วนคำว่าตอกลายนูน (Embossed) และลายเมล็ดข้าวนั้น(Grain)ได้มีการนำมาใช้เพื่ออธิบายถึงการตกแต่งลวดลายเหล่านี้ อย่างเช่นตอกกลายหนังจระเข้หรือลายหนังนกกระจอกเทศ ยังมีสายนาฬิกาอีกหลายชนิดซึ่งทำมาจากวัสดุ สังเคราะห์ อาทิ ไนลอน พลาสติก ยางเเละเคฟลาร์ ซึ่งเป็นวัสดุที่มีความเหนียวเป็นพิเศษซึ่งมีการนำไปใช้เพื่อทำเป็นเสื้อเกราะกันกระสุนวัสดุต่างๆเหล่านี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงสำหรับการนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตนาฬิกาสปอร์ตเพราะว่ามีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถทนต่อสภาวะอากาศได้เป็นอย่างดีสารพัดวัสดุเหล่านี้ถูกนำมาผสมผสานกันและกลายเป็นเรือนเวลาสวยและทรงคุณค่า นี่เฉพาะเเค่ภายนอกเท่านั้นหากลงลึกถึงชิ้นส่วนกลไกภายในที่ทำงานด้วยแล้วจะยิ่งเห็นถึงความหลากหลายของวัสดุที่นำมาใช้ในการประดิษฐ์นาฬิกาแต่ละเรือน 'ทังสเตนคาร์ไบด์' และ'ไทเทเนียม' ส่งผลให้วัสดุชนิดนี้แข็งแรงทนทานเป็นอย่างมากและยังเป็นโลหะชนิดต้านทานรอยขีดข่วนได้อีกด้วยไฮ - เทค เซรามิกส์ (HI - Tech Ceramics) เป็นวัสดุที่ถูกใช้เพื่อเป็นเกราะป้องกันความร้อนบนกระสวยอวกาศ แต่ภายหลังได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต(Rado) ที่นำมาใช้ผลิตเป็นตัวเรือนและสายในผลงานบอกเวลาคอลเลกชั่นดังอย่าง ซินทรา (Sintra)นอกจากนี้ผู้ผลิตบางรายยังได้นำเทคนิคการเคลือบโลหะเพื่อป้องกันหรือตกแต่งนาฬิกาทองเหลืองหรือนาฬิกาเรือนเหล็กของเขาโดยใช้เทคนิคการเคลือบที่เราเรียกสั้นๆว่า PVD(Physical vapor Depositon) ซึ่งการเคลือบด้วยทองคำก็สามารถผลิตด้วยกรรมวิธีนี้ได้เช่นเดียวกันเพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือก นอกเหนือจากกรรมวิธีที่นำโลหะนั้นไปชุบทองด้วยไฟฟ้า (Electroplating) ดังนั้นการนำวัสดุไทเทเนิยมไนไตรท์ ซึ่งมีความแข็งแรงทนทานสูงก็สามารถนำมาเคลือบ PVD เพื่อป้องกันรอยขีดข่วนได้เช่นกันคาร์บอนไฟเบอร์ จัดเป็นวัสดุอีกชนิดหนึ่งที่มีความแข็งแรงและมีน้ำหนักเบาไม่ว่าจะเป็นชนิดที่มีสีดำหรือสีเทาดำอันที่จริงแล้วเป็นผลมาจากการผสมผสานระหว่างคาร์บอนไฟเบอร์และสารประกอบโพลีเมอร์ซึ่งบางครั้งได้มีการนำมาใช้เพื่อทำหน้าปัดและตัวเรือนของนาฬิกาสำหรับวัสดุที่นำมาใช้เพื่อทำเป็นกระจกคริสตัลใสป้องกันพื้นหน้าปัดของนาฬิกานั้นจะมี
(Other Materials)  (Jewelry Watches)  ราคาของนาฬิกาประเภทนี้โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าของวัสดุที่นำมาใช้ผลิตนาฬิกาหรือไม่แตกต่างจากมุลค่าของเพชรพลอยที่นำมาใช้ประดับมากนักและอาจจะเพิ่มค่าแรงในการฝังเพชรและตกแต่งลวดลายต่างๆออกไปอีกขึ้นอยู่กับดีไซน์ของแต่ละเรือนนาฬิกาบางชนิดที่เราเห็นว่ามีการนำทองคำบริสุทธิ์มาใช้เป็นส่วนประกอบในการตกแต่งอยู่บนขอบตัวเรือนและสายนั้นจะเรียกกันอย่างง่ายๆว่า นาฬิกาสองกษัตริย์ (Steel and Gold Watch ) ส่วนนาฬิกาสเตนเลสสตีลสลับคั่นด้วยทองชุบหรือโลหะสีทอง เรียกกันว่า ทู - โทนวอทช์ (Two -Tone - Watch)  (Gold - Plated Watch)  และราคาของนาฬิกาทั้งสองชนิดนี้ก็จะมีราคาเริ่มตั้งแต่ต่ำกว่า 50 เหรียญสหรัฐฯ จนถึง 1,000เหรียญดอลลาร์สหรัฐฯเลยทีเดียว
14 กะรัต ก็หมายถึงโลหะนั่นประกอบด้วยเนื้อทองคำบริสุทธิ์อยู่เพียง 58% และสำหรับค่ากะรัตสูงสุดของทองคำที่จัดว่าเป็นทองเนื้อแท้ที่บริสุทธิ์นั้นก็คือ 24 กะรัตหมายถึงทองคำล้วนไม่มีโลหะอื่นใดผสมผสานอยู่เลยแต่ก็ยังไม่เคยปรากฏว่ามีการนำทองคำ 24 k มาใช้ประดิษฐ์ขึ้นเป็นตัวเรือนนาฬิกาด้วยนาฬิกาเรือนทองนั้นอาจจะมีราคาถูกที่สุดอยู่ที่ประมาณ 300 ดอลลาร์สหรัฐฯแต่โดยส่วนมากแล้วจะมีราคาแพงกว่านี้มาก แน่นอนว่าสำหรับเรือนทอง 18k ย่อมจะมีราคาที่แพงกว่านาฬิกาเรือนทอง 14k และถ้านาฬิกาไหนมีสายซึ่งทำจากทองคำเช่นเดียวกันกับตัวเรือนแล้วละก็คงไม่ต้องสงสัยเลยว่านาฬิกาเรือนนั้นจะมีราคาขึ้นเป็นทวีคูณเพราะมูลค่าของทองนั้นเป็นที่ทราบกันดีว่าควรแก่การสะสมและครอบครองไว้ยิ่งนัก





นาฬิกา

ความผูกพันระหว่างมนุษย์กับนาฬิกานั้นมีมามาแต่เนิ่นนานและเชื่อแน่ว่าจวบจนทุกวันนี้
การทำงานแต่สิ่งหนึ่งที่หากจะเปรียบเทียบมูลค่าแล้ว เรียกได้ว่าแทบจะเทียบกันไม่ได้ก็คือประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนานของนาฬิกาแต่ละเรือนเวลาที่สั่งสมมาจากหลายชั่วอายุคนผ่านกาลเวลามาหลายทศวรรษหรือบ้างก็กว่าศตวรรษ สุดท้ายกลายเป็นเรื่องเล่ากล่าวขานที่ไม่รู้จักจบ ถ่ายทอดไปสู่ผู้สืบทอดรุ่นแล้วรุ่นเล่าเพิ่มความน่าพิสมัยสู่เรือนเวลาที่มีแต่เจ้าของและผู้สืบทอดเท่านั้นที่รู้ดีที่สุดจากตำนานนาฬิกาในสยาม เมื่อก้าวเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยุคของการเริ่มติดต่อทำการค้ากับชาวต่างชาติ ซึ่งก็คือผู้นำเอาเจ้าสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า
สักเท่าไหร่และถือเป็นจุดจบของการดูเวลาแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านซึ่งอาศัยวิธีธรรมชาติ เช่น นาฬิกาแดด เทียบเวลากับเงาสะท้อนจากแสงอาทิตย์ที่ลอดส่องผ่านช่องหินที่นำมาเรียงต่อกันหรือผ่านโครงเหล็กง่ายๆไม่ได้บรรจุกลไกอันใดอย่างนาฬิกาแดดของประเทศจีนไปจนถึงวิธีง่ายๆกับการเงยดูตำแหน่งของดวงอาทิตย์ของคนไทยในที่สุด ถ้าให้
กำหนดเวลาที่แน่นอนของการเข้ามาที่มีบทบาทของนาฬิกาในประเทศไทยจริงๆ คงต้องเริ่ม
กลายเป็นธรรมเนียมอย่างหนึ่งก็ว่าได้องค์ประกอบหลักๆของนาฬิกาตุ้มถ่วงในยุคนั้นจะประกอบไปด้วย
'นาฬิกา'และ'เวลา'ได้กลายเป็นคำ 2 คำอันแสนคุ้นหูและคุ้นชินของทุกคนเฉกเช่นเดียวกับวิวัฒนาการของสิ่งประดิษฐ์อื่นๆ บนโลกใบนี้นาฬิกามีการพัฒนาการจากรุ่นเก่าแก่ดึกดำบรรพ์มาจนถึงเรือนเวลาในหลายหลากรูปแบบบรรจุไว้ด้วยหลากหลายฟังก์ชัน'นาฬิกา' เข้ามาด้วยหน้าตาและชื่อที่ไม่ค่อยคุ้นหูคนไทยในตอนแรกจากกษัตริย์ผู้ทรงเป็นผู้นำแห่งเทคโนโลยีและทรงนำเอาอิทธิพลตะวันตกต่างๆเข้ามาดัดแปลงใช้ในประเทศไทยนั่นคือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5แห่งราชวงศ์จักรีนอกจากบทบาททางการค้ากับเหล่านานาอารยประเทศที่พระองค์ทรงมีแล้วพระองค์ยังได้นำอาสิ่งประดิษฐ์มากมายอันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนชาวไทยและเหล่าขุนนางข้าราชบริพารในการบริหารประเทศเข้ามาด้วย หนึ่งในสิ่งประดิษฐ์เหล่านั่นก็คือ'เครื่องบอกเวลา' หรือนาฬิกานั่นเองในยุคสมัยของพระองค์นั้นได้มีการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นหรือที่เรียกกันว่า'นาฬิกาตุ้มถ่วง' ส่วนใหญ่มีฐานการผลิตอยู่ในประเทศแถบตะวันตก แต่เมื่อพระองค์ทรงสั่งทำและนำเข้ามายังประเทศไทยเป็นพิเศษจึงได้มีการดัดแปลงหน้าปัด โดยเฉพาะการใช้ตัวเลขไทยสำหรับบอกชั่วโมงแทนตัวเลขอารบิคซึ่ง ณ เวลาต่อมาได้กลายเป็นกระแสความนิยมเป็นอย่างมากและในขณะเดียวกันก็เกิดการนำเข้านาฬิกาตั้งพื้นในวงกว้างมากขึ้นโดยบริษัทเอกชนหลายๆ บริษัท ต่อมาล้วนมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำเข้านาฬิกา บริษัทเหล่านี้มักนิยมจารึกชื่อบริษัทตัวเองไว้บนพื้นหน้าปัดของนาฬิกาตุ้มถ่วงจน'กลไกไขลาน' มีตัวตุ้มถ่วงและสายแขวนตุ้มเป็นชิ้นส่วนหลักและที่พิเศษกว่าในปัจจุบันคือยุคนั้นสายแขวนตุ้มจะทำมาจากสายซอ ที่เชื่อกันว่ามีคุณภาพดีและคงทน จนนาฬิกาประเภทนี้ได้รับการขนานนามกันอีกชื่อว่า 'นาฬิกาไหมซอ' ในส่วนของหน้าปัดนาฬิกานิยมทำจากกระเบื้องเผาที่มีความคงทนเมื่อเคลือบและ
เผาทับกับตัวเลขและอักษรจารึกต่างๆแล้ว ตัวอักษรเหล่านี้จะอยู่คงทนไม่มีการลบเลือนถือเป็นความประณีตและความพิถีพิถันของคนสมัยก่อนเป็นอย่างยิ่ง ส่วนอีกความโดดเด่นของนาฬิกาตั้งพื้นก็คือ ตัวไม้ที่นำมาหุ้มส่วนประกอบสำคัญของนาฬิกาและกลายเป็นตู้ไม้ที่งดงามวิจิตรบรรจงเหมาะกับการเป็นของตกแต่งบ้านและสถานที่ต่างๆได้เป็นอย่างดี ส่วนแหล่งผลิตสำคัญของนาฬิกาตั้งพื้นมีกระจัดกระจายอยู่หลายที่แต่ที่นิยมและนำเข้ามาในประเทศไทยมากที่สุดเห็นจะเป็นนาฬิกาจากกรุงปารีสจนคนไทยเรียกติดปากว่า


ต่อมาไม่นานมีการพัฒนานาฬิกาตุ้มถ่วงเป็นนาฬิกาไขลานที่ย่อส่วนอันใหญ่โตเทอะทะของนาฬิกาตั้งพื้นโบราณให้มีขนาดเล็กลงและกลายเป็นนาฬิกาแขวนผนังต่างๆนาฬิกาไขลานในยุคแรก แม้จะดูเป็นของใหม่แต่เรื่องคุณภาพยังสู้นาฬิกาตุ้มถ่วงแบบโบราณไม่ได้ เนื่องจาก
พอลานใกล้หมด ในนาฬิกาไขลานจะยิ่งทำให้นาฬิกาเดินช้าลง อันมีผลต่อความเที่ยงตรงในการบอกเวลาและสิ่งหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคนี้ก็คือการนำเอาวังกะสีมาทำเป็นหน้าปัดแทนการใช้กระเบื้องเคลือบ ส่วนใหญ่มาจากประเทศจีนหรือญี่ปุ่น เพื่อลดต้นทุนการผลิตและขายได้ในราคาถูกลง โดยเน้นปริมาณการขายมากกว่ารูปแบบของงานฝีมือช่างอย่างในอดีตดังนั้น หากพูดถึง
เท่านั้น นาฬิกาตั้งโต๊ะที่คนสมัยก่อนสะสม จึงมีน้อยนักที่จะหาเรือนอื่นที่เหมือนกันได้และกลายเป็นของสะสมล้ำอีกชิ้นหนึ่งกระแสนิยมของการใช้นาฬิกาพกเริ่มเป็นที่แพร่หลายอย่างรวดเร็ว นับจากแรกๆ เป็นนาฬิกาที่พระมหากษัตริย์นิยมสั่งทำขึ้นพิเศษและมอบให้แก่เหล่าขุนนางหรือ
บุคคลสำคัญ ในวาระสำคัญต่างๆนาฬิกาสมัยเก่า จึงมักจะมีคำจารึกบันทึกวาระหรือเหตุการณ์สำคัญต่างๆไว้ ไม่ว่าจะบนพื้นหน้าปัดหรือฝาหลังของตัวเรือนนาฬิกา ก็ตามกลายเป็นของล้ำค่าที่หายากแต่ไม่นานกระแสการใช้นาฬิกาพกก็ได้เข้าสู่สังคมระดับกลาง โดยเฉพาะบรรดาพ่อค้าแม่ขายผู้มีฐานะจากนาฬิกาสำหรับบอกเวลากลายเป็น
เคื่องประดับบารมีอีกชิ้นหนึ่งไป และด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้นาฬิกาพกเริ่มเป็นที่พบเห็นกันหนาตารวมถึงภาพการดำรงชีวิตประจำวันของคนไทยที่ผูกพันธ์กับเครื่องบอกเวลามากขึ้นในเวลานี้เองแหล่งผลิตของนาฬิกาจวบจนถึงปัจจุบันอย่างประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้เริ่มต้นขึ้นอย่างจริงจังกลายเป็นแหล่งผลิตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดสำหรับนาฬิกาพกและนาฬิกา
ข้อมือ ผู้ผลิตหลายรายเริ่มต้นจากการผลิตนาฬิกาพกที่นอกจากย่นย่อขนาดให้สามารถพกพาได้สะดวกแล้วยังได้พัฒนาในส่วนของกลไกลที่ต้องลดขนาดลงหลายสิบเท่า ซ้ำยังมีการผลิตคิดค้นการผลิตฟังก์ชันใหม่ๆเพิ่มเติมเข้าไปด้วยเช่น ฟังก์ชันบอกวัน และวันที่ บอกข้างขึ้น-ข้างแรม ย่ำรุ่งย่ำค่ำ บอกเวลาของไทม์โซนที่
 
ดูเหมือนว่าวิวัฒนาการของนาฬิกาข้อมือจะพัฒนาไปอย่างรวดเร็วที่สุด เมื่อมีการคิดค้นกลไกและรูปทรงใหม่ๆ ให้กับเรือนเวลาข้อมือกันมากขึ้น โดยเฉพาะจุดต้นกำเนิดของนาฬิกากลไกอัตโนมัติ ตามมาด้วยกระแสความนิยมกลไกควอตซ์ ที่ส่วนใหญ่ผลิตมาจากประเทศญี่ปุ่น ก่อนที่จะนิยมมาหวนนาฬิกาไขลานอีกครั้งในปัจจุบัน



'นาฬิกาปารีส 'หรือนาฬิกาจากอังกฤษที่เรียกว่า 'นาฬิกาลอนดอน' และนาฬิกาจากเวียนนา ที่คนไทยเรียกว่า 'นาฬิกาเวียนนา' ระยะหลังนาฬิกาเวียนนากับได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจนกลายเป็นนาฬิกาขายดีและพบเห็นได้ทั่วไปในสมัยนั้นความงดงามแล้วคงสู้หน้าปัดกระเบื้องเคลือบไม่ได้อย่างแน่นอนอีกทั้งยังสึกกร่อนไปตามกาลเวลาได้ง่าย'ประหยัดพื้นที่' กลายเป็นคอนเซ็ปต์ใหม่ของการผลิตนาฬิกา พัฒนามาเป็นนาฬิกาตั้งโต๊ะ ที่แม้จะนำเข้ามาในไทยเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ ก่อนที่นาฬิกาพกจะเข้ามามีอิทธิพลแทนที่แต่ก็กลายเป็นที่นิยมของนักสะสมมากเช่นกัน เนื่องจากนาฬิกาตั้งโต๊ะในสมัยก่อนไม่นิยมผลิตออกมาจำนวนมากๆ แต่จะผลิตเพียงเรือนเดียวในแต่ละลวดลาย2และระบบจับเวลาที่ไม่ซับซ้อนอะไรมาก ด้วยคุณูปการของเจ้าของนาฬิกาพกที่ต้องติดตัวอยู่ตลอดเวลาทำให้มีผู้ริเริ่มเปลี่ยนจากนาฬิกาพกมาเป็นนาฬิการ้อยหูด้วยริบบิ้นหรือสายโซ่เพื่อนให้คล้องสวมกับข้อมือได้กลายเป็นนาฬิกาข้อมือที่นับวันยิ่งได้รับความนิยมเนื่องจากความสะดวกสบายในการพกพาและดูเวลา เพียงแค่พลิกข้อมือก็ทราบเวลาเเล้วนาฬิกาข้อมือยุคแรกๆในเมืองไทยยังเป็นนาฬิกาที่ดูเรียบง่ายคลาสสิค มีตัวเรือนทองเป็นส่วนใหญ่กลไกลภายในยังเป็นกลไกลไขลานล้วนเป็นคุณสมบัติเด่นๆของนาฬิกาพกมาก่อน แต่ได้เปลี่ยแปลงไปคือการเน้นให้มีขนาดตัวเรือนเล็กและบางลง โดยมีแหล่งผลิตและผู้ส่งออกนาฬิกาข้อมืออย่างแพร่หลายไปทั่วโลกสำคัญคือสวิสเซอร์แลนด์ คนไทยเราเองก็รับเอาอายธรรมของการใช้นาฬิกาข้อมือเข้ามาทดแทนนาฬิกาพก เช่นกันหลังจากนั้นเพียงไม่นานนาฬิกาพกก็แทบจะเลือนหายไปจากความคิดของผู้นิยมนาฬิกามาก่อน

เรื่องเล่าแห่งนาฬิกาไทย